Statistical Yearbook Thailand 2013

พืชเศรษฐกิจที่สําคัญในป 2554 ได แก ข าว มันสําปะหลัง ข าวโพดเลี้ยงสัตว สับปะรด ถั่วเหลือง ถั่วเขียว และ ถั่วลิสง พืช ป 2554 มีคํานิยามตรงกับป เพาะปลูก 2554/55 ได แก ข าวนาป ข าวโพดเลี้ยงสัตว ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง สับปะรด พืช ป 2555 มีคํานิยามตรงกับป เพาะปลูก 2554/55 ได แก ข าวนาปรัง มันสําปะหลัง สถิติการประมง ได มาจากกรมประมง และองค การสะพานปลา การประมงของประเทศไทย แบ งออกเป น 2 ประเภท คือ การประมงน้ําจืด ประกอบด วย การจับจากแหล งน้ําธรรมชาติและการเพาะเลี้ยง สัตว น้ําจืดจับจากแหล งน้ํา ธรรมชาติ ทํากันในแหล งน้ําสาธารณะ อ างเก็บน้ํา และบริเวณที่ราบลุ ม มีน้ําท วมในฤดูฝน ส วนการเพาะเลี้ยงในรูปฟาร ม จําแนกประเภทเป นเลี้ยงในบ อ นา ร องสวน และกระชัง การประมงทะเล รวมถึงการเพาะเลี้ยงชายฝ งซึ่งเป นผลผลิตหลักของประเทศ การจําแนกสัตว น้ําทะเล ตามที่อยู อาศัยและกลุ ม ดังนี้คือ ปลาผิวน้ํา ปลาหน าดิน และสัตว ทะเลประเภทไม มีกระดูกสันหลัง หรือสัตว น้ําอื่น ๆ แหล งทําการ ประมงของไทย กระทําทั้งในบริเวณอ าวไทย และฝ งทะเลอันดามัน ส วนการประมงนอกน านน้ํา ได แก แหล งประมงในน านน้ํา สากล นอกฝ งประเทศเพื่อนบ านในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และภูมิภาคเอเชียใต สําหรับการเพาะเลี้ยงชายฝ ง ได แก การเพาะเลี้ยงในแหล งน้ํากร อยตามบริเวณพื้นที่ชายฝ ง ปากแม น้ํา ลําคลอง และทะเลสาบ พื้นที่ที่น้ําทะเลท วมถึงบริเวณที่ ดอนชายน้ํา และป าไม ชายเลนที่เสื่อมสภาพ และบริเวณน้ําตื้นชายฝ ง การประมงทะเล นับว ามีการขยายตัวอย างต อเนื่อง โดยเฉพาะ การทําการประมงนอกน านน้ําได เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากประเทศเพื่อนบ านมีการผ อนผันให เรือประมงไทย เข าไปจับสัตว น้ํา โดยคิดค าธรรมเนียม หรือเข าร วมทุนทําการ ประมงกับเจ าของทรัพยากร ตลอดจนพิจารณาจัดหามาตรการอนุรักษ ฟ นฟูประมงทะเลให ได ผล อีกทั้งการเพาะเลี้ยงชายฝ ง ได เข ามามีบทบาทในการเพิ่มปริมาณสัตว น้ํามากขึ้น ตามลําดับ อาทิ เช น การเพาะเลี้ยงกุ งทะเล โดยเฉพาะอย างยิ่งกุ งกุลาดํา สถิติการเกษตร การป าไม และการประมง 258

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==