Statistical Yearbook Thailand 2014

คณะกรรมการค าจ าง ได กระจายอํานาจการพิจารณาอัตราค าจ างขั้นต่ําไปยังภูมิภาค โดยได แต งตั้ง คณะอนุกรรมการอัตราค าจ างขั้นต่ํากรุงเทพมหานคร และคณะอนุกรรมการอัตราค าจ างขั้นต่ําจังหวัด รวม 76 คณะเป น องค กรไตรภาคีเช นเดียวกับคณะกรรมการค าจ าง การพิจารณากําหนดอัตราค าจ างขั้นต่ํา คณะกรรมการค าจ างจะนําข อมูลตามหลักเกณฑ ที่ได กําหนดใน พระราชบัญญัติคุ มครองแรงงาน พ . ศ . 2541 และแก ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ 3) พ . ศ . 2551 มาพิจารณาประกอบข อเท็จจริง เกี่ยวกับอัตราค าจ างที่ลูกจ างได รับอยู โดยเฉพาะอย างยิ่งดัชนีค าครองชีพ อัตราเงินเฟ อ มาตราฐานการครองชีพ ต นทุนการ ผลิต ราคาของสินค า ความสามารถของธุรกิจผลิตภาพแรงงาน ผลิตภัณฑ มวลรวมของประเทศ สภาพทางเศรษฐกิจและ สังคม ซึ่งการพิจารณากําหนดอัตราค าจ างขั้นต่ําต องไม ต่ํากว า อัตราค าจ างขั้นต่ําพื้นฐานที่คณะกรรมการค าจ างกําหนด ถ าไม มีการกําหนดอัตราค าจ างขั้นต่ําในท องที่ใดถือว าอัตราค าจ างขั้นต่ําพื้นฐานเป นอัตราค าจ างขั้นต่ําของท องที่นั้น ป จจุบันจึงมีการ แก ไข และประกาศใช ตามคณะกรรมการค าจ าง เรื่อง อัตราค าจ างขั้นต่ํา ( ฉบับที่ 7 ) ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2555 ซึ่งมีผลใช บังคับตั้งแต วันที่ 1 มกราคม 2556 อัตราค าจ างขั้นต่ํา หมายถึง อัตราค าจ างที่เพียงพอสําหรับแรงงานเพื่อพัฒนาฝ มือ ( แรงงานไร ฝ มือ ) 1 คน ให สามารถดํารงชีพอยู ได ตามสมควรแก สภาพเศรษฐกิจและสังคมในท องถิ่น แรงงานเพื่อพัฒนาฝ มือ ( แรงงานไร ฝ มือ ) หมายถืง แรงงานที่มีวุฒิการศึกษาไม เกินชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 6 ทั้งที่ เพิ่งจบการศึกษาหรือจบมาหลายป แล ว แต ไม เคยทํางานหรือเคยทํางานมาแล ว แต รวมระยะเวลาการทํางานเก ากับงานที่ทําอยู ในป จจุบันไม เกิน 1 ป การปรับอัตราค าจ างขั้นต่ํามุ งให ความคุ มครองและเป นหลักประกันรายได ขั้นต่ําสําหรับแรงงานเพื่อพัฒนาฝ มือที่เข า สู ตลาดแรงงานใหม แต อย างไรก็ตาม ยังมีแรงงานจํานวนหนึ่งที่อายุการทํางานเกิน 1 ป ขึ้นไป แต นายจ างยังจ ายค าจ างเท ากับ อัตราค าจ างขั้นต่ําอยู สถิติแรงงานต างด าว ได รับข อมูลจาก กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน ซึ่งรวบรวมข อมูลเกี่ยวกับข อมูล คนต างด าวที่ได รับใบอนุญาตทํางานในประเทศไทย ภายใต การบริหารจัดการของสํานักบริหารแรงงานต างด าว ซึ่งเป น หน วยงานในสังกัดกรมการจัดหางาน ที่ได รับมอบหมายให ดําเนินการบริหารจัดการการทํางานของต างด าวในประเทศไทย ให สอดคล องและเป นไปตามพระราชบัญญัติการทํางานของคนต างด าว พ . ศ . 2551 และกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข อบังคับอื่นที่ เกี่ยวข อง ได แก พระราชบัญญัติคนเข าเมือง พ . ศ . 2522 กฎหมายว าด วยการส งเสริมการลงทุนหรือกฎหมายอื่นรวมทั้ง นโยบายด านแรงงานของรัฐบาล คนต างด าวที่ได รับใบอนุญาตให ทํางาน ต องมีถิ่นที่อยู ในราชอาณาจักรหรือได รับอนุญาตให เข ามาในราชอาณาจักร เป นการชั่วคราวตามกฎหมายว าด วยคนเข าเมืองโดยมิใช ได รับอนุญาตให เข ามาในฐานะนักท องเที่ยวหรือผู เดินทางผ าน และไม มี ลักษณะต องห ามตามที่กําหนดในกฎกระทรวง คนต างด าว หมายถึง บุคคลธรรมดาซึ่งไม มีสัญชาติไทย สถิติแรงงาน 54

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==