Statistical Yearbook Thailand 2014

สุขภาพจิตของคนไทย สํานักงานสถิติแห งชาติเป นผู จัดทํา โดยให ผู ตอบอายุ 15 ป ขึ้นไป สํารวจตัวเองและประเมิน เหตุการณ อาการ ความคิดเห็น และความรู สึกของตนในช วง 1 เดือนที่ผ านมา ซึ่งการสํารวจได ใช ข อถามสุขภาพจิตคนไทยฉบับสั้น 15 ข อ ( ที่กรมสุขภาพจิตได พัฒนาจากข อถามฉบับสมบูรณ 54 ข อ ) ข อถามแต ละข อมีคะแนนอยู ระหว าง 0-3 คะแนน ซึ่งคะแนนเต็มของข อถามสุขภาพจิตชุดนี้ คือ 45 คะแนน การแปลผล ดังนี้ คะแนนรวม 0 - 27 . 00 คะแนน หมายถึง สุขภาพจิตต่ํากว าคนทั่วไป 27.01 - 34. . 00 คะแนน หมายถึง สุขภาพจิตเท ากับคนทั่วไป 34.01 - 45 . 00 คะแนน หมายถึง สุขภาพจิตสูงกว าคนทั่วไป สํารวจสถานการณ เด็กและสตรีในประเทศไทย สํานักงานสถิติแห งชาติ ได ดําเนินการ จัดทําครั้งแรก พ . ศ . 2548-49 โดยใช ชื่อว า “ โครงการสํารวจสถานการณ เด็กในประเทศไทย ” สําหรับการสํารวจในป พ . ศ . 2555 เป นการจัดทํา ครั้งที่ 2 เพื่อนําเสนอข อมูลเกี่ยวกับสถานการณ เด็กและสตรีในประเทศไทย และติดตามความเปลี่ยนแปลงของสถานการณ เด็ก และสตรีอย างต อเนื่อง โดยองค การยูนิเซฟเป นหน วยงานหลักที่ให การสนับสนุนทั้งงบประมาณและองค ความรู และได ทํางาน ร วมกับกระทรวงและหน วยงานต าง ๆ ได แก กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห งชาติ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร างเสริมสุขภาพ สํานักงานพัฒนา นโยบายสุขภาพระหว างประเทศ รวมทั้งสถาบันการศึกษา เช น สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และ วิทยาลัยประชากรศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย 150 สถิติสุขภาพ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==