Statistical Yearbook Thailand 2014

สถิติชีพ ได รับข อมูลจาก สํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งแสดงข อมูลเกี่ยวกับ การเกิดมีชีพ และ การตาย ภายใต ข อกําหนดของพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร ที่การเกิดจะต องแจ งต อสํานักทะเบียนภายใน 15 วัน นับ แต วันที่เกิด และการตายจะต องแจ งต อสํานักทะเบียนภายใน 24 ชั่วโมงนับแต เวลาตายหรือพบศพ ส วนการตายของทารกใน ครรภ ป จจุบันกฎหมายมิได กําหนดให ต องแจ งการจดทะเบียนราษฏร การสํารวจการย ายถิ่นของประชากร สํานักงานสถิติแห งชาติ ได เริ่มดําเนินการสํารวจการย ายถิ่นของประชากร ครั้งแรกในป 2517 โดยทําการสํารวจเฉพาะการย ายเข าสูกรุงเทพมหานคร ต อมาในป 2526-2533 ได ขยายขอบข าย การสํารวจเป นการย ายเข าสู จังหวัดที่อยู ในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร และบางจังหวัดในส วนภูมิภาคซึ่งกําหนดให เป น เมืองหลักในการพัฒนา และตั้งแต ป 2535 จนถึงป ป จจุบัน ได ขยายขอบข ายการสํารวจให ครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ โดยมี วัตถุประสงค เพื่อรวบรวมข อมูลพื้นฐานด านประชากรและสังคมของผู ย ายถิ่น สําหรับนําไปใช ในการติดตามสถานการณ การย ายถิ่นของประชากร เพื่อนําไปประกอบในการกําหนดนโยบาย และจัดทําแผนเกี่ยวกับการกระจายตัวและการตั้งถิ่นฐาน ของประชากรในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ตลอดจนใช เป นแนวทางในการวางแผนพัฒนาโครงการต างๆ และแก ไข ป ญหาที่เกิดจากการย ายถิ่นของประชากร การเข ามาในราชอาณาจักรชั่วคราว คนต างด าวที่จะเข ามาในราชอาณาจักรเป นการชั่วคราวได จะต องเข ามาเพื่อการปฏิบัติหน าที่ทางราชการ การทูต หรือกงสุล การท องเที่ยว การเล นกีฬา ธุรกิจการลงทุน หรือการอื่นที่เกี่ยวกับการลงทุนภายใต บังคับกฎหมายส งเสริม การลงทุน หรือการลงทุนที่ได รับความเห็นชอบจากกระทรวง ทบวง กรมที่เกี่ยวข อง การเดินทางผ านราชอาณาจักร การเป น ผู ควบคุมพาหนะหรือคนประจําพาหนะที่เข ามายังสถานีหรือท องที่ในราชอาณาจักร การศึกษาหรือดูงาน การปฏิบัติหน าที่ สื่อมวลชน การเผยแพร ศาสนาที่ได รับความเห็นชอบจากกระทรวง กรมที่เกี่ยวข อง การค นคว าทางวิทยาศาสตร หรือ ฝ กสอนในสถาบันการค นคว าหรือสถาบันการศึกษาในราชอาณาจักร การปฏิบัติงานด านช างฝ มือหรือผู เชี่ยวชาญ และการ อื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง คนต างด าวซึ่งได รับอนุญาตให มีถิ่นที่อยู ในราชอาณาจักร จะต องขอรับใบสําคัญถิ่นที่อยู จากผู บัญชาการตํารวจ แห งชาติ หรือพนักงานเจ าหน าที่ซึ่ง ผู บัญชาการตํารวจแห งชาติมอบหมายไว เป นหลักฐาน ภายในเวลา 30 วันนับแต วันที่ได รับ แจ งจากพนักงานเจ าหน าที่เป นลายลักษณ อักษร ในกรณีที่คนต างด าวอายุต่ํากว าสิบสองป ได รับอนุญาตให มีถิ่นที่อยู ในราชอาณาจักร ผู ใช อํานาจปกครอง หรือ ผู ปกครอง ต องขอรับใบสําคัญถิ่นที่อยู ในนามของคนต างด าวผู นั้น การแปลงสัญชาติ คนต างด าวอาจขอแปลงสัญชาติเป นไทยได หากมีคุณสมบัติครบถ วนดังต อไปนี้ 1. บรรลุนิติภาวะตามกฎหมายไทย และกฎหมายที่บุคคลนั้นมีสัญชาติ 2. มีความประพฤติดี และมีอาชีพเป นหลักฐาน 3. มีภูมิลําเนาในราชอาณาจักรไทยต อเนื่องมาจนถึงวันที่ยื่นขอแปลงสัญชาติ เป นเวลาไม น อยกว า 5 ป และมีความรู ภาษาไทย ตามที่กฎหมายกําหนด ทั้งนี้ ยกเว นผู ที่เคยมีสัญชาติไทยมาแล ว หรือเป นผู ที่ได กระทําความดีความชอบเป น พิเศษต อประเทศไทย หรือเป นบุตร หรือภริยาของผู ซึ่งได แปลงสัญชาติเป นไทย หรือของผู ได กลับคืนสัญชาติไทย นายกรัฐมนตรีเป นผู วินิจฉัยคําขอแปลงสัญชาติ เมื่อเห็นสมควรอนุญาตก็นําความกราบบังคมทูลขอพระบรม - ราชานุญาต และเมื่อได ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล ว จึงถือว าการแปลงสัญชาติมีผลสมบูรณ ตามกฎหมาย สถิติประชากรศาสตร ประชากรและเคหะ 4

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==