Statistical Yearbook Thailand 2014

สถิติเงินตรา การเงิน การประกันภัย และดุลการชําระเงิน สถิติเงินตรา การเงิน การประกันภัย และดุลการชําระเงิน ในบทนี้ ได รวบรวมข อมูลมาจาก กรมธนารักษ ธนาคารออมสิน ในสังกัดกระทรวงการคลัง ธนาคารแห งประเทศไทย กรมการประกันภัย สํานักงานคณะกรรมการ กํากับและส งเสริมประกอบธุรกิจประกันภัย กระทรวงพาณิชย และกรมส งเสริมสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ เงินที่ใช ทั่วไปในป จจุบัน ได แก เหรียญกษาปณ ธนบัตร ซึ่งเป นเงินที่ชําระหนี้ได ตามกฎหมาย และเงินฝาก กระแสรายวันในธนาคารพาณิชย ที่จ ายโอนกันโดยเช็ค หน วยเงินตราไทย เรียกว า “ บาท ” มีค าเท ากับ หนึ่งร อยสตางค ซึ่งเป นระบบหนึ่งส วนต อร อยส วน ธนาคารแห งประเทศไทย ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติธนาคารแห งประเทศไทย พ . ศ . 2485 เป นธนาคารกลาง ของชาติ มีหน าที่และความรับผิดชอบในการรักษาทุนสํารอง เพื่อดํารงเสถียรภาพแห งเงินตรา พระราชบัญญัติเงินตรา พ . ศ . 2501 มาตรา 30 ได กําหนดสินทรัพย ที่ประกอบขึ้นเป นทุนสํารองเงินตรา คือ 1. ทองคํา 2. เงินตราต างประเทศอันเป นเงินตราที่พึงเปลี่ยนได หรือเงินตราต างประเทศอื่นใดที่กําหนดโดยกฎกระทรวง ทั้งนี้ ต องเป นรูปเงินฝากในธนาคารนอกราชอาณาจักร หรือในสถาบันการเงินระหว างประเทศ 3. หลักทรัพย ต างประเทศที่จะมีการชําระหนี้เป นเงินตราต างประเทศที่ระบุไว ในข อ 2 4. ทองคํา สินทรัพย ต างประเทศ และสิทธิพิเศษถอนเงิน ทั้งนี้ ที่นําส งสมทบทุนกองทุนการเงิน 5. ใบสําคัญสิทธิซื้อส วนสํารอง 6. ใบสําคัญสิทธิพิเศษถอนเงิน 7. หลักทรัพย รัฐบาลไทยที่จะมีการชําระหนี้เป นเงินตราต างประเทศที่ระบุไว ในข อ ๒ . หรือเป นบาท 8. ตั๋วเงินในประเทศที่ธนาคารแห งประเทศไทยพึงซื้อหรือรับช วงซื้อลดได แต ต องมีค ารวมกันไม เกินร อยละยี่สิบของ จํานวนธนบัตรออกใช สินทรัพย ตาม ข อ 1 2 3 4 5 และ 6 นั้น ธนาคารแห งประเทศไทยจะต องจัดดํารงไว ให มีค ารวมกันทั้งสิ้นไม ต่ํา กว าร อยละหกสิบของมูลค าธนบัตรออกใช ทุนสํารองเงินตรา คือ สินทรัพย ที่ใช หนุนหลังธนบัตรออกใช สินทรัพย ดังกล าว ธนาคารแห งประเทศไทยจะต อง รักษาและกันไว ต างหากจากทรัพย สินอื่น ๆ เพื่อสร างความเชื่อมั่นในค าของธนบัตรและเป นหลักประกันว าการออกใช ธนบัตรมี ขอบเขตอยู เท ากับสินทรัพย ที่จะมาเป นทุนสํารองเงินตรา ประเทศไทยได เข าเป นสมาชิกของกองทุนการเงินระหว างประเทศเมื่อ พ . ศ . 2492 แต ยังไม สามารถกําหนดค าเสมอ ภาคได เนื่องจากฐานะทางเศรษฐกิจในขณะนั้นยังไม มั่นคง จนถึงวันที่ 20 ตุลาคม 2506 รัฐบาลจึงได ประกาศพระราช - กฤษฎีกา กําหนดค าเสมอภาคของเงินบาทขึ้นในอัตรา 1 บาท ต อทองคําบริสุทธิ์ 0.0427245 กรัม หรือเทียบเท า 20.80 บาท ต อ 1 ดอลลาร สหรัฐ หลังจากนั้นก็ได ปรับค าเงินบาทอีกหลายครั้ง และตั้งแต วันที่ 2 พฤศจิกายน 2527 ให ค าของเงิน บาทเทียบกับค าของกลุ มสกุลเงินของประเทศคู ค า ตามความสําคัญทางการค ากับต างประเทศ ดังกล าว โดยคํานึงถึงสภาวะ ทางเศรษฐกิจและการเงินของประเทศไทย ต อมากระทรวงการคลัง ได มีประกาศการปรับปรุงระบบอัตราการแลกเปลี่ยน เงินตรา จาก “ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบตะกร า ” เป น “ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว ” ซึ่งมีผลใช บังคับตั้งแต 2 กรกฎาคม 2540 เป นต นไป ให ใช ค าเงินบาทที่เปลี่ยนแปลงไปตามภาวะตลาดเงินตราต างประเทศ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==