Statistical Yearbook Thailand 2014

การเงินระหว างประเทศของไทย ปฏิบัติตามระบบกองทุนการเงินระหว างประเทศตลอดมา ได มีการแก ไขเพิ่มเติม ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2521 ให สมาชิกในแต ละประเทศเลือกระบบอัตราแลกเปลี่ยนได ตามความเหมาะสมกับ เศรษฐกิจของตน เพื่อให เกิดความยืดหยุ น เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจและการเงินของโลก และมีเป าหมายที่จะลดความสําคัญ ของทองคําและเงินตราที่ทั่วโลกถือเป นทุนสํารองทางการ แต ให สิทธิพิเศษถอนเงินเป นเงินสํารองหลักของโลกแทน ในการรักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต างประเทศนั้น รัฐบาลได จัดตั้งทุนรักษาระดับอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราขึ้น ที่ธนาคารแห งประเทศไทย ทําหน าที่กําหนดอัตราซื้อขายเงินตราต างประเทศ ระบบเครดิต มีความสําคัญยิ่งสําหรับประเทศที่กําลังอยู ระหว างการพัฒนาเศรษฐกิจ หน าที่ของระบบเครดิต คือ ส งเสริมการออม และหาวิธีที่จะทําให เงินออมถูกใช ไปในการลงทุนที่มีประสิทธิภาพสูงสุดซึ่งจําเป นต องพัฒนาสถาบันการเงิน ด านต างๆ ซึ่งทําหน าที่เป นตัวกลางทางการเงิน สถาบันการเงินประเภทต างๆ ที่เข าข ายสื่อกลางทางการเงินในประเทศไทย ได แก ธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ การเกษตร ธนาคารอาคารสงเคราะห บรรษัท เงินทุนอุตสาหกรรมแห งประเทศไทย บรรษัทธนกิจอุตสาหกรรมขนาดย อม บริษัทเครดิตฟองซิเอร บริษัทประกันชีวิต สหกรณ การเกษตร สหกรณ ออมทรัพย และโรงรับจํานํา สถิติการประกันภัย ที่นําเสนอในบทนี้ ได รับข อมูลจาก กรมประกันภัย สํานักงานคณะกรรมการกํากับและ ส งเสริมประกอบธุรกิจประกันภัย กระทรวงพาณิชย เป นข อมูลการประกันชีวิต และประกันวินาศภัย การประกันชีวิต หมายถึง การที่บริษัทประกัน ตกลงจะชดใช เงินจํานวนหนึ่งให แก ผู รับผลประโยชน ในเมื่อผู เอา ประกันตายลงหรือยังมีชิวิตอยู จนถึงเวลาที่ได ตกลงกันไว ในสัญญา โดยผู เอาประกันตกลงส งเบี้ยประกันให แก บริษัทผู รับประกันชีวิต การประกันชีวิตในประเทศไทย แบ งเป น 3 ประเภท คือ การประกันชีวิตประเภทสามัญ ประเภทอุตสาหกรรม และ ประเภทประกันกลุ ม การประกันวินาศภัย เป นการตกลงระหว างผู รับประกันภัย (Insurer) กับผู เอาประกัน (Insured) โดยผู รับประกันจะชดใช ค าสินไหมทดแทนหรือใช เงินจํานวนหนึ่ง ในกรณีวินาศภัยหากมีขึ้น คือ ได ระบุในสัญญาแก ผู เอาประกันภัย โดยผู เอาประกันตกลงส งเบี้ยประกันภัยแก ผู รับประกันภัย การประกันวินาศภัยในประเทศไทยแบ งเป น 4 ประเภท คือ การประกันอัคคีภัย การประกันภัยทางทะเลและขนส ง การประกันภัยรถยนต และการประกันภัยเบ็ดเตล็ด สหกรณ สถิติสหกรณ ในประเทศไทย ได ข อมูลจาก กรมส งเสริมสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ เป นข อมูล จํานวนสหกรณ และจํานวนสมาชิกสหกรณ ทั่วประเทศ ณ วันที่ 1 มกราคม ของแต ละป สําหรับสหกรณ ที่นํามาประมวลผล ทั้งหมดไม นับรวมสหกรณ ที่ได หยุดดําเนินงานเกิน 2 ป สหกรณ ที่เลิก สหกรณ อยู ระหว างชําระบัญชี และสหกรณ ที่ถอน ชื่อสหกรณ จะนับเฉพาะสหกรณ ดําเนินธุรกิจอยู ในป จจุบัน รวมกับสหกรณ ที่จัดตั้งใหม แต ยังไม ได ดําเนินธุรกิจเท านั้น สถิติเงินตรา การเงิน การประกันภัย และดุลการชําระเงิน 442

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==