Statistical Yearbook Thailand 2014

สถิติด านเศรษฐกิจอื่นๆ สถิติด านเศรษฐกิจอื่นๆ ที่เสนอในบทนี้ ได มาจาก กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง สํานักงานคณะกรรมการ ข าราชการพลเรือน สํานักนายกรัฐมนตรี การประปานครหลวง การประปาส วนภูมิภาค และสํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ สถิติเกี่ยวกับการบริหารราชการ ได นําเสนอ จํานวนข าราชการ ซึ่งเป นเจ าหน าที่ช วยในด านการบริการของรัฐ กําลังคนในภาครัฐในฝ ายพลเรือน ซึ่งปฏิบัติงานในส วนราชการต าง ๆ ทั่วประเทศ ได นําเสนอข อมูลเกี่ยวกับ จํานวนตําแหน ง จํานวนข าราชการ ชายหญิง ระดับการศึกษา ระดับตําแหน ง โดยจําแนกเป นข าราชการแต ละประเภท รวมทั้ง ข อมูลกําลังคนในตําแหน งผู บริหาร ลูกจ างประจํา ลูกจ างชั่วคราว พนักงานจ าง และพนักงานราชการ สถิติการประปา ได มาจากการประปานครหลวง และการประปาส วนภูมิภาคได รวบรวมข อมูลเกี่ยวกับ จํานวนผู ใช น้ํา ปริมาณการผลิต และปริมาณจําหน าย โดยการประปานครหลวงรับผิดชอบ เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ สําหรับการประปาส วนภูมิภาค รับผิดชอบพื้นที่ทั้งประเทศ นอกเหนือจากเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ สถิติ “ ต นทุนโลจิสติกส ” ถือเป นตัวชี้วัดที่สําคัญในการประเมินประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบโลจิสติกส ซึ่ง ประเทศที่มีประสบการณ และเป นตัวอย างที่ดี (Best Practices) ด านการพัฒนาระบบโลจิสติกส อย างประเทศสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ น ได มีการจัดเก็บฐานข อมูลด านโลจิสติกส และจัดทําต นทุนโลจิสติกส ทั้งในระดับจุลภาคและมหภาคกันอย างแพร หลาย ในขณะที่ประเทศไทยริเริ่มพัฒนาระบบข อมูลด านโลจิสติกส ของประเทศเมื่อป 2547 โดยสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ( สศช .) ได ดําเนินการศึกษาแนวคิดการคํานวณและพัฒนาแบบจําลองต นทุนโลจิสติกส ของ ประเทศไทย จนได กรอบแนวคิดของการคํานวณต นทุนโลจิสติกส ในระดับประเทศ ซึ่งสามารถจําแนกองค ประกอบต นทุน โลจิสติกส ออกเป น 3 ส วนหลัก คือ 1. ต นทุนค าขนส ง (Transportation Cost) 2. ต นทุนค าบริหารคลังสินค า (Warehousing Cost ) และต นทุนการเก็บรักษาสินค าคงคลัง (Inventory Carrying Cost) 3. ต นทุนการบริหารจัดการ (Administrative Cost) การบริหารจัดการโลจิสติกส (Logistics Management) เป นกระบวนการทํางานต าง ๆ ที่เกี่ยวข องกับการ วางแผน การดําเนินการ และการควบคุมการทํางานขององค กร รวมทั้งการบริหารจัดการข อมูลและธุรกรรมทางการเงินที่ เกี่ยวข อง ให เกิดการเคลื่อนย าย การจัดเก็บ การรวบรวม การกระจายสินค า วัตถุดิบ ชิ้นส วนประกอบ และการบริการให มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด โดยคํานึงถึงความต องการและความพึงพอใจของลูกค าเป นสําคัญ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==