Statistical Yearbook Thailand 2023

ด านเกษตรกรรม ประเทศไทยส งออกยางพาราเป นอันดับ 1 นอกจากนั้นยังมีพืชผลทางเกษตรอื่น ๆ ได แก ข าว ผัก และผลไม ต าง ๆ มีการเลี้ยงปศุสัตว เช น วัว สุกร เป ด ไก และการเพาะเลี้ยงสัตว น้ําและการทําประมง มีทั้งประมงน้ําจืด และประมงน้ําทะเล ด านอุตสาหกรรม เช น อุตสาหกรรมแปรรูปทางการเกษตร สิ่งทอ อิเล็กทรอนิกส และรถยนต ด านการท องเที่ยว ทํารายได ให ประเทศสูงมาก เพราะมีสถานที่ท องเที่ยวและการบริการด านโรงแรม ที่อํานวยความสะดวกและสวยงามอยู ทุกจังหวัด โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร พัทยา เชียงใหม และภาคใต ฝ งทะเล อันดามัน ทรัพยากรธรรมชาติ มีทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ ได แก หินปูน ยิปซัม สังกะสี เหล็ก ดีบุก ตะกั่ว หินอ อน ทรายแก ว เฟลด สปาร ดินขาว ฟลูออไรต โพแทซ รัตนชาติ ถ านหิน หินน้ํามัน และแก สธรรมชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ถือเป นแผนระดับชาติที่มีความสําคัญในการกําหนดทิศทาง การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ป จจุบัน รัฐบาลมุ งพัฒนาประเทศภายใต แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห งชาติ ฉบับที่ 13 พ.ศ. 2566 – 2570 โดยการกําหนดทิศทาง การพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ได น อมนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป นหลัก นําทางในการขับเคลื่อนและวางแผนการพัฒนาประเทศไปสู การบรรลุเป าหมายในมิติต าง ๆ ภายใต ยุทธศาสตร อย างเป นรูปธรรม การกําหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ ที่ควรมุ งไปในอนาคต หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่สอดคล องกับเป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก ( Sustainable Development Goals : SDGs ) ซึ่งจะเป นจุดเริ่มต นในการที่จะนําพาประเทศไทยไปสู การเป นประเทศ ที่เศรษฐกิจมีความเจริญเติบโต ท ามกลางสังคมที่สมานฉันท ทันสมัย ก าวหน า ควบคู ไปกับสิ่งแวดล อมที่ได รับ การดูแลรักษาและใช ประโยชน อย างสมดุลในระยะยาว เพื่อให ประเทศไทยสามารถเสริมสร างความเข มแข็งจาก ภายในให สามารถเติบโตต อไปได อย างมั่งคงท ามกลางความผันแปรที่เกิดขึ้นรอบด านจากภายนอก และสามารถ บรรลุเป าหมายระยะ 20 ป ภายใต ยุทธศาสตร ชาติ เพื่อพลิกโฉมประเทศไทยสู “สังคมก าวหน า เศรษฐกิจสร าง มูลค าอย างยั่งยืน” -12-

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==