The 2017 Thailand Poverty Maps South Region

หรือค่ำใช้จ่ำยของปัจเจกบุคคลในกำรได้มำซึ่งอำหำร (Food) และสิ่งจำเป็นที่ไม่ใช่อำหำร (Non- Food) ใน ขั้นพื้นฐำนที่ทำให้สำมำรถดำรงชีพอยู่ได้ หรือกล่ำวได้ว่ำเส้นควำมยำกจนเป็นตัวสะท้อนมำตรฐำนกำรครอง ชีพขั้นต่ำ เส้นควำมยำกจนนี้คำนวณจำกเส้นควำมยำกจนด้ำนอำหำร (Food) และสิ่งจำเป็นที่ไม่ใช่ อำหำร (Non-Food) ที่ปรับปรุงใหม่ตำมแนวคิดของสำนักงำนคณะกรรมกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ และ สถำบันวิจัยเพื่อกำรพัฒนำประเทศไทย (ทีดีอำร์ไอ) ซึ่งทำให้ค่ำครองชีพขั้นต่ำสูงขึ้น กล่ำวคือ ใช้แบบ แผนกำรบริโภคอำหำรของประชำกรที่อยู่ใน Decile 1 หรือ 10% ของประชำกรที่จนที่สุด แยกระหว่ำงคน จนเมืองและคนจนชนบท และคำนวณจำนวนเงินที่ต้องจ่ำยเพื่อให้ได้มำซึ่งสำรอำหำรที่เพียงพอต่อร่ำงกำย โดยใช้รำคำสินค้ำของตลำดในแต่ละพื้นที่ เส้นควำมยำกจนด้ำนอำหำรกำหนดขึ้นจำกควำมต้องกำรปริมำณสำรอำหำร แคลอรี และ โปรตีนของคนซึ่งแตกต่ำงกันตำมเพศและอำยุ รวมทั้งแบบแผนกำรบริโภค และค่ำครองชีพที่แตกต่ำงกัน ตำมภูมิภำคและพื้นที่ แต่ได้รับควำมพึงพอใจหรืออรรถประโยชน์ (Utility) เท่ำกัน ทั้งนี้กำรกำหนดรูปแบบ กำรบริโภคเป็นตะกร้ำสินค้ำอุปโภคบริโภค (Consumption Baskets) ที่แตกต่ำงกันตำมพื้นที่จำนวน 9 ตะกร้ำ ประกอบด้วย 1 ตะกร้ำสินค้ำของกรุงเทพมหำนคร และ 8 ตะกร้ำสินค้ำแยกเขตเมืองและเขต ชนบทของภำคเหนือ ภำคกลำง ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ และภำคใต้ เพื่อสะท้อนรูปแบบกำรบริ โภคของ คนที่อำศัยอยู่ต่ำงภูมิภำคและสังคม รวมทั้งใช้ดัชนีรำคำผู้บริโภคในพื้นที่สะท้อนรำคำสินค้ำหรือค่ำครองชีพ นอกจำกนี้ยังคำนึงถึงกำรประหยัดจำกขนำด (Economy of Scale) กล่ำวคือ เมื่อมีคนจำนวน มำกบริโภค / ใช้สินค้ำร่วมกันจะช่วยให้ประหยัด ในหมวดสินค้ำอำหำรและสินค้ำที่มิใช่อำหำร แผนที่ควำมยำกจนได้นำเสนอตัวชี้วัดทำงด้ำนมิติรำยได้และมิติค่ำใช้จ่ำย แยกเป็นในเขต เทศบำลและนอกเขตเทศบำล โดยมีแนวคิดดังนี้ 1) มิติรำยได้ และมิติค่ำใช้จ่ำย แนวคิดกำรวัดระดับควำมเป็นอยู่ที่ดี หรือควำมอยู่ดีกินดี (Well Being) นิยมวัดในรูปของ ตัวเงิน โดยใช้รำยได้หรือค่ำใช้จ่ำยของครัวเรือน / บุคคล เป็นตัวบ่งชี้ถึงระดับควำมเป็นอยู่และควำมยำกจน โดยทั่วไปแล้วประเทศ กำลังพัฒนำมักใช้ค่ำใช้จ่ำยของครัวเรือนเป็นตัวกำหนด เนื่องจำกข้อมูลค่ำใช้จ่ำยไม่ผัน ผวน และจดจำได้ง่ำย เพรำะครัวเรือนส่วนใหญ่ในประเทศกำลังพัฒนำอยู่ในภำคกำรเกษตร มีแบบแผนกำร ใช้จ่ำยไม่เปลี่ยนแปลงมำกนัก และรำยกำรใช้จ่ำยประจำส่วนใหญ่เป็นอำหำรและสินค้ำอุปโภคที่จำเป็น ในขณะที่รำยได้ของครัวเรือนส่วนใหญ่มำจำกกำรเกษตร จึงมีควำมผันผวนไม่แน่นอนในแต่ละปีขึ้นอยู่กับ ภูมิอำกำศและรำคำผลผลิต ส่วนประเทศที่พัฒนำแล้ว นิยมใช้รำยได้เป็นตัวชี้วัดเพรำะข้อมูลรำยได้จะจดจำ ได้มำกกว่ำค่ำใช้จ่ำย เนื่องจำกรำยได้ของคนส่วนใหญ่มำจำกเงินเดือน ค่ำจ้ำงที่แน่นอนเป็นประจำ ในขณะที่ ค่ำใช้จ่ำยจะมีแบบแผนกำรใช้จ่ำย และรำยกำรใช้จ่ำยค่อนข้ำงมำก 2) ในเขตเทศบำล และนอกเขตเทศบำล ภำวะกำรครองชีพและควำมเป็นอยู่ของคนในแต่ละภูมิภำคและพื้นที่จะแตกต่ำงกัน เนื่องจำกรูปแบบกำรบริโภคและรำคำสินค้ำที่แตกต่ำงกัน เช่น ค่ำครองชีพในเขตเมืองจะสูงกว่ำเขตชนบท ค่ำครองชีพในกรุงเทพฯ จะสูงกว่ำทุกภำคของประเทศ เป็นต้น ดังนั้น กำรกำหนดคนจน โดยใช้เกณฑ์เส้น ควำมยำกจน จึงต้องสะท้อนถึงมำตรฐำนกำรครองชีพของคนที่อำศัยอยู่ต่ำงภูมิภำคและพื้นที่ โดยได้รับ อรรถประโยชน์ (Utility) จำกกำรบริโภคสินค้ำเท่ำกัน นอกจำกนี้ ภำวะกำรครองชีพยังอำจได้รับอิทธิพลจำก ภูมิประเทศและพื้นที่ตั้งอีกด้วย ดังนั้น กำรวัดควำมยำกจน จึงได้แบ่งพื้นที่เป็น 5 ภูมิภำค ซึ่งแต่ละภูมิภำคแยก 3

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==