พฤติกรรมการเป็
นหนี้
ของครั
วเรือนเกษตร พ.ศ.2554
3.2.3 ด้
านเศรษฐกิจ
ในปี 2552 และ 2554 ครั
วเรือนเกษตรมีฐานะทางเศรษฐกิจดีขึ้น ซึ่
งจะเห็
นได้
จากครั
วเรือนเกษตรที่
มีรายได้ทั
้งสิ้นเฉลี่
ยที่
เพิ่
มขึ้นจาก 14,892 บาทต่อเดือนต่อครั
วเรือน
ในปี 2552 เพิ่
มเป็
น 19,380 บาทต่อเดือนต่อครั
วเรือน ในปี 2554 หรือมีอั
ตราการเพิ่
มขึ้น
ร้อยละ 14.1 ต่อปี ในขณะเดียวกั
นค่าใช้จ่ายทั
้งสิ้นของครั
วเรือนเกษตรก็
มีแนวโน้มเพิ่
มขึ้น
เช่นเดียวกั
นจากที่
ครั
วเรือนเกษตรมีค่าใช้จ่ายทั
้งสิ้นเฉลี่
ย 11,532 บาทต่อเดือนต่อครั
วเรือน
ในปี2552 เพิ่
มเป็
น 14,222 บาทต่อเดือนต่อครั
วเรือน ในปี 2554 หรือมีอั
ตราการเพิ่
มขึ้น
ร้อยละ 11.1 ต่อปี และเป็
นที่
น่าสั
งเกตว่าครั
วเรือนเกษตรที่
เป็
นหนี้มีรายได้ทั
้งสิ้นเฉลี่
ยสู
ง
กว่าครั
วเรือนเกษตรที่
ไม่่เป็
นหนี้ ทั
้งนี้อาจเนื่
องมาจากสถาบั
นการเงินที่
ให้กู
้หรือเจ้าหนี้จะมี
ความเชื่
อมั่
นกั
บครั
วเรือนที่
มีสินทรั
พย์เป็
นหลั
กประกั
น และมีระดั
บรายได้ที่
สามารถจ่ายหนี้
คืนได้ ทำ
�ให้ครั
วเรือนเกษตรที่
มีระดั
บรายได้สู
งจะสามารถเข้าถึงแหล่งสินเชื่
อได้ง่ายกว่ากลุ
่ม
ครั
วเรือนที่
มีรายได้น้อย
เมื่
อพิจารณามู
ลค่าหนี้สินของครั
วเรือนเกษตรที่
เป็
นหนี้ จะพบว่า ครั
วเรือน
เกษตรที่
เป็
นหนี้มีมู
ลค่าหนี้สินเพิ่
มขึ้นจาก 121,965 บาทต่อครั
วเรือน ในปี 2552 เพิ่
มเป็
น
140,404 บาทต่อครั
วเรือน ในปี 2554 หรือมีอั
ตราการเพิ่
มขึ้นร้อยละ 7.3 ต่อปี แต่อย่างไร
ก็
ตามเมื่
อเปรี
ยบเที
ยบระหว่
างรายได้
ทั
้
งสิ้
นเฉลี่
ยต่
อเดื
อนต่
อครั
วเรื
อนกั
บมู
ลค่
าหนี้
สิ
นเฉลี่
ย
ทั
้งสิ้นของครั
วเรือน ในปี 2552 และ 2554 พบว่า ครั
วเรือนเกษตรมีสั
ดส่วนหนี้สินต่อ
รายได้ลดลง นั่
นแสดงได้ว่า ครั
วเรือนเกษตรที่
เป็
นหนี้มีความสามารถในการชำ
�ระหนี้ดีขึ้น
39