251
สถิ
ติ
:
ใครได้
ใช้
ประโยชน์
2555
ข้
อมู
ล สํ
ารวจประชากรผู้
สู
งอายุ
นั
บถอยหลั
ง “สั
งคมผู้
สู
งอายุ
” ถึ
งเวลาพั
ฒนาระบบ บริ
การสุ
ขภาพผู้
สู
งวั
“ผู้
สู
งอายุ
ถู
กทอดทิ้
ง มี
ปั
ญหาด้
านสุ
ขภาพ ด้
านจิ
ตใจ ไม่
ได้
รั
บการเอาใจใส่
ไร้
ลู
กหลานดู
แล” กลายเป็
นปั
ญหาใหญ่
ในสั
งคมไทย และในอนาคตอั
นใกล้
มี
การคาดการณ์
ไว้
ว่
สั
งคมไทยจะก้
าวสู่
สั
งคมผู้
สู
งอายุ
เต็
มรู
ปแบบ (Aging Society) คื
อมี
ผู้
สู
งอายุ
คิ
ดเป็
น 1 ใน 4
ของประชากรทั้
งหมด แม้
ผู้
สู
งอายุ
จะมี
ชี
วิ
ตที่
ยื
นยาวขึ้
น คุ
ณภาพชี
วิ
ตอาจมิ
ได้
ดี
ขึ้
นตามด้
วย
เนื่
องจากสภาพร่
างกายที่
เสื่
อมลง ประกอบกั
บสั
งคมที่
เปลี่
ยนแปลง และแม้
รั
ฐบาล จะมี
การ
ประเมิ
นโครงสร้
างในอนาคตไว้
แล้
วล่
วงหน้
า แต่
การเตรี
ยมพร้
อมดู
จะไม่
เป็
นไปในทิ
ศทาง
เดี
ยวกั
น โดยเฉพาะเรื่
องสํ
าคั
ญอย่
างเรื่
อง “สุ
ขภาพ”!!
ผลสํ
ารวจประชากรผู้
สู
งอายุ
ในประเทศไทยเมื่
อปี
พ.ศ. 2550 ของ สํ
านั
กงานสถิ
ติ
แห่
งชาติ
พบว่
า ผู้
สู
งอายุ
1 ใน 4 ประเมิ
นสุ
ขภาพตนเองว่
า อยู่
ในเกณฑ์
ไม่
ดี
ถึ
งร้
อยละ 21.5
และอยู่
ในเกณฑ์
ไม่
ดี
มากๆร้
อยละ2.8 ซึ่
งบ่
งบอกถึ
งความเปราะบางด้
านสุ
ขภาพ ซ้ํ
าร้
ายไปกว่
นั้
นยั
งพบว่
าผู้
สู
งอายุ
ไทย ต้
องประสบกั
บภาวะความพิ
การกว่
า 1,058,885 คน หรื
อคิ
ดเป็
นร้
อย
ละ 15 ของผู้
สู
งอายุ
ทั้
งประเทศรวมทั้
งยั
งมี
ปั
ญหาสุ
ขภาพเป็
นโรคเรื้
อรั
งอี
กด้
วย
ขณะที่
ผลสํ
ารวจสุ
ขภาพอนามั
ยโดยการตรวจร่
างกาย ปี
2551-2552ในส่
วนของ
ผู้
สู
งอายุ
ยั
งตอกย้ํ
าถึ
งปั
ญหาภาวะสุ
ขภาพของผู้
สู
งอายุ
ไทย ซึ่
งตรวจพบได้
ตั้
งแต่
ยั
งไม่
แสดง
อาการ ผู้
สู
งอายุ
มี
ความชุ
กของโรคความดั
นโลหิ
ตสู
งร้
อยละ 50 และเบาหวานร้
อยละ 50 และที่
น่
ากั
งวลไปกว่
านั้
นคื
อ ผู้
สู
งอายุ
ต้
องทนกั
บสภาวะและมี
ชี
วิ
ตอยู่
จากการเจ็
บป่
วยหรื
อความพิ
การ
จากโรคไม่
ติ
ดต่
อ ร้
อยละ 85 โรคติ
ดต่
อร้
อยละ 11ส่
วนที่
เหลื
อเกิ
ดจากอุ
บั
ติ
เหตุ
จากสถิ
ติ
ดั
งกล่
าวส่
อเค้
าให้
เห็
นถึ
งสั
ญญาณอั
นตรายที่
กํ
าลั
งคื
บคลานเข้
ามา ซึ่
งหาก
หน่
วย งานต่
างๆ โดยเฉพาะหน่
วยงานพื้
นฐานทางด้
านสุ
ขภาพ ยั
งไม่
ขบคิ
ดหาแนวทางรั
บมื
อาจจะนํ
าไปสู่
ปั
ญหาใหญ่
ที่
จะถาโถมเข้
ามา และสั
งคมเองจะต้
องเป็
นผู้
แบกรั
บภาระอย่
างสาหั
ซึ่
งนี่
คื
อที่
มาสํ
าหรั
บข้
อเสนอของ นพ.ถาวร สกุ
ลพานิ
ชย์
รอง ผอ.สํ
านั
กงานวิ
จั
ยเพื่
อการ
พั
ฒนาหลั
กประกั
นสุ
ขภาพไทย (สวปก.)ร่
วมกั
บ รศ.ดร.วรเวศม์
สุ
วรรณระดา คณะ
เศรษฐศาสตร์
จุ
ฬาลงกรณ์
มหาวิ
ทยาลั
ย และมู
ลนิ
ธิ
สถาบั
นวิ
จั
ยและพั
ฒนาผู้
สู
งอายุ
ไทย
สนั
บสนุ
นโดยสํ
านั
กงานกองทุ
นสนั
บสนุ
นการสร้
างเสริ
มสุ
ขภาพ (สสส.)
ที่
ระบุ
ถึ
งการ
เตรี
ยมพร้
อมกั
บการตั้
งรั
บ “สั
งคมผู้
สู
งอายุ
” ไว้
อย่
างน่
าสนใจว่
า จะต้
องมี
การพั
ฒนาทั้
งในส่
วน
ของบุ
คลากรและระบบต่
าง ๆ ให้
พร้
อมเพื่
อเสริ
มสร้
างหลั
กประกั
นทางสั
งคมขั้
นพื้
นฐานด้
าน
สุ
ขภาพสํ
าหรั
บผู้
สู
งอายุ
ไว้
โดยเฉพาะ โดยมี
3 หน่
วยงานหลั
กร่
วมรั
บผิ
ดชอบ คื
อกระทรวง
สาธารณสุ
ข สํ
านั
กงานหลั
กประกั
นสุ
ขภาพแห่
งชาติ
(สปสช.) และองค์
กรปกครองส่
วนท้
องถิ่
ซึ่
งถื
อว่
าใกล้
ชิ
ดกั
บชุ
มชนมาก
ประการแรกคื
อต้
องปรั
บระบบบริ
การโดยใช้
มาตรการเชิ
งรุ
ก ด้
วยเหตุ
เพราะ
ปั
จจุ
บั
นผู้
สู
งอายุ
ไม่
ทราบว่
าตั
วเองเป็
นโรคเรื้
อรั
ง จึ
งควรจั
ดให้
มี
ระบบการจํ
าแนกคั
ดกรอง
1...,420,421,422,423,424,425,426,427,428,429 431,432,433,434,435,436,437,438