เมื่
อพิ
จารณาความสามารถในการช�
ำระหนี้
ของครั
วเรื
อนเกษตร ในปี 2552 และ
2554 พบว่า ครั
วเรื
อนเกษตรมี
ความสามารถในการช�
ำระหนี้
ดี
ขึ้
น คื
อจากที่
มี
สั
ดส่วนหนี้
สิ
นต่อ
รายได้เฉลี่
ยถึ
ง 7.8 เท่าในปี 2552 ปรั
บตั
วลดลงเหลื
อ 7.1 เท่าในปี 2554 โดยครั
วเรื
อนเกษตร
ที่
มี
รายได้สู
งจะมี
ความสามารถในการช�
ำระหนี้
ได้ดี
กว่าครั
วเรื
อนที่
มี
รายได้ต�่
นั่
นแสดงให้
เห็
นว่ากลุ
่มที่
มี
ความเสี่
ยงต่อปั
ญหาหนี้
สิ
นคื
อ กลุ
่มครั
วเรื
อนเกษตรที่
มี
รายได้น้อย โดยมี
ความ
เป็
นไปได้สู
งที่
จะแบกรั
บภาระหนี้
สิ
นไว้เกิ
นความสามารถที่
จะช�
ำระหนี้
ได้ ซึ่
งอาจจะมี
ผล
กระทบในวงกว้าง ท้ายที่
สุ
ดแล้วก็
จะส่งผลกระทบต่อเสถี
ยรภาพทางเศรษฐกิ
จของประเทศได้
จากการวิเคราะห์แบบจำ
�ลองโลจิสติก พบว่า ปั
จจั
ยที่
มีผลต่อการเป็
นหนี้ของ
ครั
วเรือนเกษตร มีเพียง 5 ตั
วแปร ที่
มีนั
ยสำ
�คั
ญทางสถิติ ได้แก่
ภาค เขตการปกครอง จำ
�นวน
สมาชิกในครั
วเรือนที่
กำ
�ลั
งเรียนหนั
งสือ จำ
�นวนสมาชิกที่
มีอายุ
15 ปีขึ้นไปที่
ทำ
�งานหารายได้
และค่าใช้จ่ายของครั
วเรือน
แผนภู
มิ
2
สั
ดส่วนหนี้สินต่อรายได้ของครั
วเรือนเกษตรที่
เป็
นหนี้ จำ
�แนกตามระดั
รายได้ของครั
วเรือนเกษตร ปี 2554
0
3
6
9
12
15
ไม่
เกิ
น 10,000
บาท
10,001-20,000
บาท
20,001-30,000
บาท
30,001 ขึ้
นไป
9.5
7.3
7.1
5.9
สั
ดส่
วนหนี้
สิ
นต่
อรายได้
(เท่
า)
ระดั
บรายได้
ทั
้งสิ้น
ของครั
วเรือน
1,2,3,4,5,6 8,9,10,11,12,13,14,15,16,17,...170