พฤติกรรมการเป็
นหนี้
ของครั
วเรือนเกษตร พ.ศ.2554
60
4.1.3 ปั
จจั
ยทางด้
านเศรษฐกิจ
ค่
าใช้
จ่
ายทั้
งสิ้
นของครั
วเรื
อน
ค่าใช้จ่ายทั
้
งสิ้
นของครั
วเรื
อนเกษตรมี
ความ
สั
มพั
นธ์ทางบวกกั
บการเป็
นหนี้
เมื่
อมี
การควบคุ
มปั
จจั
ยอื่
น โดยครั
วเรื
อนเกษตรที่
มี
ค่าใช้จ่าย
มากจะมี
โอกาสเป็
นหนี้
ได้มากกว่าครั
วเรื
อนที่
มี
ค่าใช้จ่ายที่
น้อยกว่า ที่
เป็
นเช่นนี้
อาจเนื่
องมา
จากหลายปั
จจั
ยด้วยกั
น
ส่วนหนึ่
งมาจากครั
วเรื
อนมี
ระดั
บรายได้น้อยไม่เพี
ยงพอต่อการ
ด�
ำรงชี
พท�
ำให้ต้องน�
ำเงิ
นในอนาคตมาใช้ เพื่
อให้เพี
ยงพอต่อความต้องการใช้จ่าย และแน่นอน
ว่
าการประกอบอาชี
พของครั
วเรื
อนเกษตรต้
องมี
การน�
ำเงิ
นไปลงทุ
นในการเพาะปลู
กพื
ชผล
ทางการเกษตร และผลผลิ
ตที่
ได้ก็
ไม่แน่นอนขึ้
นอยู
่กั
บดิ
น ฟ้า อากาศ และปริ
มาณน�
้
ำ
ซึ่
งเป็
น
ปั
จจั
ยที่
ไม่สามารถควบคุ
มได้ หากฤดู
กาลไหนที่
เกิ
ดภั
ยพิ
บั
ติ
ผลผลิ
ตก็
ไม่สามารถเก็
บเกี่
ยวได้
ไม่มีรายได้ จ�
ำเป็
นต้องมี
การกู
้ยื
มเงิ
นมาใช้จ่ายในครั
วเรื
อน และใช้ในการท�
ำการเกษตรในครั
้
ง
ต่อไป ซึ่
งจากข้อมู
ลในบทก่อนหน้า พบว่า ครั
วเรื
อนเกษตรน�
ำเงิ
นกู
้กว่าครึ่
งหนึ่
งมาใช้ใน
การเกษตร รองลงมาใช้ในการอุ
ปโภคบริ
โภคในครั
วเรื
อน
นอกจากนี้ปั
ญหาหนี้สินอาจเกิดจากค่านิยมในวั
ตถุ
และค่านิยมในเทคโนโลยี
ใหม่ๆ ซึ่
งค่านิยมนี้สั
งคมมั
กจะยกย่อง หรือชื่
นชมคนที่
มีทรั
พย์สินมาก ไม่ว่าจะเป็
นการมีบ้าน
หลั
งใหญ่
มีรถ มีเครื่
องประดั
บต่างๆ เหล่านี้เป็
นต้น ส่วนค่านิยมในเทคโนโลยีใหม่ๆนั
้นเป็
นการ
ตอบสนองความสะดวกสบาย เช่น การใช้โทรศั
พท์มือถือ คอมพิวเตอร์ เป็
นต้น แม้ว่าครั
วเรือน
จะมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการซื้อสินค้าต่างๆเหล่านี้ แต่ก็
มีช่องทางการซื้อขายใหม่ๆที่
จู
งใจมาก
ขึ้น เช่น การผ่อนชำ
�ระ การซื้อด้วยบั
ตรเครดิต และอื่
นๆ