รายงานการประเมิ
นสถานะตั
วชี้
วั
ดเป้
าหมาย
การพั
ฒนาที
่
ยั
่
งยื
น SDGs ที
่
เกี
่
ยวข้
องกั
บเด็
ก
4
คณะกรรมการเพื่
อการพั
ฒนาที่
ยั่
งยื
น ได้
แต่
งตั้
งคณะอนุ
กรรมการ 4 คณะ เพื่
อขั
บเคลื่
อนเป้
าหมายการพั
ฒนาที่
ยั่
งยื
น ให้
ครอบคลุ
มทุ
กมิ
ติ
ได้
แก่
1) คณะอนุ
กรรมการขั
บเคลื่
อนเป้
าหมายการพั
ฒนาที่
ยั่
งยื
น 2) คณะอนุ
กรรมการส่
งเสริ
มความเข้
าใจและประเมิ
นผลการพั
ฒนา
ที่
ยั่
งยื
นตามหลั
กปรั
ชญาของเศรษฐกิ
จพอเพี
ยง 3) คณะอนุ
กรรมการพั
ฒนาระบบข้
อมู
ลสารสนเทศเพื่
อสนั
บสนุ
นการพั
ฒนาที่
ยั่
งยื
น
4) คณะอนุ
กรรมการการประเมิ
นสิ่
งแวดล้
อมระดั
บยุ
ทธศาสตร์
โดยได้
ด�
ำเนิ
นการตั้
งแต่
พ.ศ. 2558 จนถึ
ง พ.ศ. 2562 จากนั้
นเมื่
อประเทศไทย
ได้
มี
การจั
ดท�
ำยุ
ทธศาสตร์
ชาติ
และแผนแม่
บทยุ
ทธศาสตร์
ชาติ
เสร็
จเรี
ยบร้
อย เมื่
อวั
นที่
19 ธั
นวาคม 2562 คณะกรรมการเพื่
อการพั
ฒนา
ที่
ยั่
งยื
น ได้
มี
มติ
เห็
นชอบให้
ปรั
บองค์
ประกอบของคณะกรรมการ คณะอนุ
กรรมการ รวมถึ
งคณะท�
ำงานต่
าง ๆ
นอกจากนี้
ประเทศไทยได้
ให้
ความส�
ำคั
ญกั
บแนวคิ
ดเรื่
องการพั
ฒนาอย่
างยั่
งยื
นเป็
นอย่
างมาก มี
การน้
อมน�
ำหลั
กปรั
ชญาของเศรษฐกิ
จพอเพี
ยง
(Sufficiency Economy Philosophy: SEP) ของพระบาทสมเด็
จพระเจ้
าอยู่
หั
วภู
มิ
พลอดุ
ลยเดช ซึ่
งได้
รั
บการยอมรั
บจากประชาคมโลก
มาใช้
เป็
นหลั
กการพื้
นฐานในการพั
ฒนาประเทศ รวมถึ
งการขั
บเคลื่
อนเป้
าหมายการพั
ฒนาที่
ยั่
งยื
น (SEP for SDGs) ในทุ
กระดั
บและทุ
กพื้
นที่
โดยให้
ความส�
ำคั
ญกั
บทุ
กภาคส่
วนตามหลั
กการส�
ำคั
ญของการพั
ฒนาที่
ยั่
งยื
นโดยไม่
ทิ้
งใครไว้
ข้
างหลั
ง
2.2 การเชื
่
อมโยง SDGs กั
บยุ
ทธศาสตร์
ชาติ
และ
แผนแม่
บทระบบสถิ
ติ
เพื่
อให้
บรรลุ
วิ
สั
ยทั
ศน์
“ประเทศมี
ความมั่
นคง มั่
งคั่
ง ยั่
งยื
น เป็
นประเทศพั
ฒนาแล้
ว ด้
วยการพั
ฒนาตามปรั
ชญาเศรษฐกิ
จพอเพี
ยง”
น�
ำไปสู
่
การพั
ฒนาให้
คนไทยมี
ความสุ
ข และตอบสนองตอบต่
อการบรรลุ
ซึ่
งผลประโยชน์
แห่
งชาติ
ในการที่
จะพั
ฒนาคุ
ณภาพชี
วิ
ต
สร้
างรายได้
ระดั
บสู
งเป็
นประเทศพั
ฒนาแล้
ว และสร้
างความสุ
ขของคนไทย สั
งคมมี
ความมั่
นคง เสมอภาคและเป็
นธรรม ประเทศสามารถ
แข่
งขั
นได้
ในระบบเศรษฐกิ
จตามกรอบยุ
ทธศาสตร์
ชาติ
รั
ฐบาลไทยได้
น�
ำแนวคิ
ดเป้
าหมายการพั
ฒนาที่
ยั่
งยื
นบู
รณาการเข้
ากั
บกรอบการด�
ำเนิ
นงานระดั
บชาติ
อย่
างเป็
นระบบ วาระการพั
ฒนา
ที่
ยั่
งยื
นจึ
งได้
รั
บการรั
บรองเป็
นวาระระดั
บชาติ
มี
การก�
ำหนดให้
หน่
วยงานต่
าง ๆ น�
ำเป้
าหมายการพั
ฒนาที่
ยั่
งยื
นสอดแทรกเข้
าไปในการ
จั
ดท�
ำยุ
ทธศาสตร์
และแผนงานต่
าง ๆ อย่
างต่
อเนื่
อง ตั้
งแต่
รั
ฐธรรมนู
ญแห่
งราชอาณาจั
กรไทย พ.ศ. 2560 ได้
ก�
ำหนดให้
รั
ฐบาลต้
องจั
ดท�
ำ
ยุ
ทธศาสตร์
ชาติ
ระยะ 20 ปี
(พ.ศ. 2560 – 2579) เป็
นเป้
าหมายในการพั
ฒนาประเทศอย่
างยั
่
งยื
น โดยยึ
ดหลั
กปรั
ญชาของเศรษฐกิ
จพอเพี
ยง
ซึ่
งนอกจากการจั
ดท�
ำยุ
ทธศาสตร์
ชาติ
ระยะ 20 ปี
เป็
นแผนที่
น�
ำทางประเทศแล้
วรั
ฐบาลก�
ำหนดให้
การพั
ฒนาที่
ยั่
งยื
นเป็
นวาระการปฏิ
รู
ป
ประเทศอี
กด้
วย