47
4.2 การเจ็
บป่
วย
พฤติ
กรรมเสี่
ยงของประชาชนในปั
จจุ
บั
น
ไม ่
ว่
าจ ะ เป ็
น กา รบ ริ
โภ คอาห า ร ม าก เก ิ
น ไป
บริ
โภคอาหารที
่
ปนเปื
้
อน การดื
่
มสุ
รา การสู
บ
บุ
หรี
่
ประกอบกั
บการขาดการออกกาลั
งกาย
และความ เครี
ยดจากการดา เนิ
นชี
วิ
ต ทา ให้
ประชาชนเป็
นโรคง่
ายและเจ็
บป่
วยมากขึ้
น
จ า ก ข้
อ มู
ล ก า ร ส า ร ว จ อ น า มั
ย แ ล ะ
สวั
สดิ
การของสานั
กงานสถิ
ติ
แห่
งชาติ
พบว่
า
ในช่
วง 6 ปี
ที่
ผ่
านมา (พ.ศ. 2552-2558) คนไทย
มี
อาการป่
วยหรื
อรู้
สึ
กไม่
สบายลดลง จากร้
อยละ
20.3 ในปี
2552 เป็
นร้
อยละ 16.9 ในปี
2558
สั
ด ส่
วน ดั
งกล่
าว ล ด ล งทั้
งผู้
ช าย แ ล ะ ผู้
หญิ
ง
โดยผู้
ชายลดลงจากร้
อยละ 15.3 ในปี
2552 เป็
น
ร้
อยละ 15.2 ในปี
2558 และผู้
หญิ
งจากร้
อยละ
19.5 ในปี
2552 เป็
นร้
อยละ 18.6 ในปี
2558
4.2 Illness
Risk behavior in food consumption,
such as over consumption, consumption of
contaminated food, drinking and smoking
etc., including lack of proper physical
exercise and tension in daily life, is one of
the major causes of more diseases and
population’s sickness.
Results from Health and Welfare
Survey showed that in the past 6 years
(2009-2015 ), proportion of people getting
ill decreased from 20.3% in 2009 to 16.9%
in 2015, the decrease was found in both
sexes; male decreased from 15.3% in 2009
to 15.2% in 2015, and female decreased
from 19.5% to 18.6%.
ที่
มา: สถิ
ติ
สาธารณสุ
ข พ.ศ. 2555-2558 สานั
กปลั
ดกระทรวงสาธารณสุ
ข
Source:Public Health Statistics in 2012-2015, Office of the Permanent Secretary, Ministry of Public Health.
แผนภู
มิ
4.1 อั
ตราผู้
ป่
วยในด้
วยโรคเนื้
องอก (รวมมะเร็
ง) ต่
อประชากร 100,000 คน พ.ศ. 2555-2558
Chart 4.1 Rate of In-Patients with Neoplasm (Include Cancer) per 100,000 Population: 2012-2015
ปี
/Year
0
500
1,000
1,500
2555/2012 2556/2013 2557/2014 2558/2015
862.0
901.9
829.1
1,026.1
เนื้
องอก รวมมะเร็
ง Neoplasm (Include Cancer)
อั
ตรา/Rate
เนื้
องอก (รวมมะเร็
ง) / Neoplasm (including Cancer)