พฤติกรรมการเป็
นหนี้
ของครั
วเรือนเกษตร พ.ศ.2554
12
ในการศึ
กษาพฤติ
กรรมการเป็
นหนี้
ของครั
วเรื
อนเกษตรในครั
งนี้
ได้
ทำ
�การศึ
กษา
แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจั
ยที่
เกี่
ยวข้อง เพื่
อกำ
�หนดกรอบแนวคิดในการศึกษาให้ครอบคลุ
เนื้อหาโดยมีสาระสำ
�คั
ญ ดั
งนี้
2.1 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจั
ยที่
เกี่
ยวข้อง
2.1.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่
ยวกั
บความเข้าใจเบื้องต้นเรื่
องหนี้สิน
2.1.2 ทฤษฎีการบริโภคที่
สั
มพั
นธ์กั
บการเป็
นหนี้
2.1.3 ทฤษฎีความต้องการถือเงิน
2.1.4 งานวิจั
ยที่
เกี่
ยวข้อง
2.2 กรอบแนวคิดของการศึกษา
2.1 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจั
ยที่
เกี่
ยวข้
อง
2.1.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่
ยวกั
บความเข้
าใจเบื้
องต้
นเรื่
องหนี้
สิน
1.1) ความหมายของหนี้
สิน
พจนานุ
กรมฉบั
บราชบั
ณฑิตยสถาน
พุ
ทธศั
กราช 2525 ให้นิยามหนี้สิน คือ เงินที่
ผู
้หนึ่
ติดค้างอยู
่ซึ่
งจะต้องใช้ให้แก่อีกผู
้หนึ่
นอกจากนี้แล้วยั
งมีนั
กวิชาการ
หลายท่านให้คำ
�นิยามหนี้สิน ซึ่
งอั
จฉราพร โชติพฤกษ์
ได้ให้ คำ
�นิยาม หนี้สิน หมายถึง จำ
�นวนเงินที่
บุ
คคลหรือกิจการค้าเป็
นหนี้ต่อบุ
คคลภายนอก
เป็
นภาระผู
กพั
นตามกฎหมายในปั
จจุ
บั
นของกิจการ อั
นเกิดจากการค้าหรือการกระทำ
�ในอดีต
มีผลทำ
�ให้กิจการต้องชำ
�ระหนี้ตามภาระที่
ได้ผู
กพั
นนั
้นในอนาคต ซึ่
งจะมีความสอดคล้องกั
สำ
�นั
กงานสถิติแห่งชาติที่
ให้คำ
�นิยามหนี้สินของครั
วเรือน หมายถึง จำ
�นวนเงินกู
้ยืมทั
้งหมดของ
สมาชิกในครั
วเรือนที่
ค้างชำ
�ระทั
้งจากสถาบั
นการเงินและบุ
คคลอื่
นนอกครั
วเรือน และหนี้ที่
เกิด
จากการเช่าซื้อ การซื้อสินค้าเงินผ่อน/การซื้อเชื่
อสินค้า การจำ
�นำ
� การจำ
�นอง และเงินส่งแชร์
ตาย เป็
นต้น
1...,17,18,19,20,21,22,23,24,25,26 28,29,30,31,32,33,34,35,36,37,...170