พฤติกรรมการเป็
นหนี้
ของครั
วเรือนเกษตร พ.ศ.2554
15
2.2) การบริ
โภคในปั
จจุ
บั
นถู
กก�
ำหนดโดยแบบแผนของการบริ
โภคในอดี
ต กล่าว
คื
อ ผู
้บริ
โภคจะพยายามรั
กษามาตรฐานการบริ
โภคของตนเองกั
บระดั
บรายได้สู
งสุ
ดที่
เคยได้รั
มาก่อนเมื่
อใดก็
ตาม
ที่
รายได้ของตนเองลดลงต�่
ำกว่ารายได้สู
งสุ
ดที่
ตนเองเคยได้รั
บมาก่อน
ผู
้บริ
โภคจะไม่ค่อยลดระดั
บการบริ
โภคของตนเองมากนั
ก เพราะมี
ความเคยชิ
นกั
บมาตรฐาน
การบริ
โภคแบบเดิ
3) ทฤษฎีการบริโภคตามสมมติฐานรายได้
ถาวร
(Permanent Income Hypothesis)
ทฤษฎีการบริโภคตามสมมติฐานรายได้ถาวรได้พั
ฒนาขึ้นเป็
นครั
้งแรกโดย Milton
Friedman (1957) ซึ่
งได้กำ
�หนดรายได้ออกเป็
น 2 ส่วน คือ รายได้ถาวร (Permanent Income)
และรายได้ชั่
วคราว (Transitory Income) และกำ
�หนดลั
กษณะการบริโภคออกเป็
น 2 ส่วน เช่น
กั
น คือ การบริโภคถาวร (Permanent Consumption) และการบริโภคแบบชั่
วคราว (Transitory
Conumption) ในทฤษฎีนี้เชื่
อว่า ครั
วเรือนจะมีพฤติกรรมในการจั
ดสรร รายได้เพื่
อการบริโภค
โดยอ้างอิงกั
บรายได้ในระยะยาวที่
คาดว่าจะได้รั
บ ตามทฤษฎีนี้เป็
นเรื่
องของการคาดการณ์
และการวางแผนในระยะยาว กล่าวคือ การใช้จ่ายเพื่
อการบริโภคของครั
วเรือนจะขึ้นอยู
่กั
รายได้ถาวร โดยครั
วเรือนจะไม่ทำ
�การบริโภคในส่วนของรายได้ชั่
วคราว ดั
งนั
้น เงินส่วนที่
เหลือ
ที่
ไม่ได้ทำ
�การบริโภคจะถือเป็
นเงินออม
ซึ่
งสามารถเกิดได้ทั
้งจากส่วนของรายได้ถาวรและ
รายได้ชั่
วคราว
4) สมมติฐานการบริโภคแบบช่
วงอายุ
ขั
ย (Life Cycle Hypothesis )
เป็
นแนวความคิ
ดของ Franco Modigliani และ Albert Ando (1963) ซึ่
งสรุ
ปได้
ว่า ระดั
บการบริ
โภคของบุ
คคลมิ
ได้ขึ้
นอยู
่กั
บระดั
บรายได้ ณ เวลาปั
จจุ
บั
นเท่านั
น แต่ยั
งขึ้
นอยู
กั
บรายได้ที่
บุ
คคลนั
นคาดว่าจะได้รั
บในอนาคต
โดยบุ
คคลจะมี
แบบแผนของรายได้ตลอด
ชั่
วชี
วิ
ตของเขา ซึ่
งในช่วงอายุ
น้อยบุ
คคลจะมี
รายได้ต�่
ำมากแต่ในขณะเดี
ยวกั
นบุ
คคลนั
นก็
ยั
ต้องการการบริ
โภคในการด�
ำรงชี
วิ
ต นั่
นคื
อ บุ
คคลจะมี
ระดั
บการบริ
โภคสู
งกว่าระดั
บรายได้
แสดงว่าในช่วงนั
นเขาจะมี
การออมติ
ดลบ (dissaving) หรื
อมี
หนี้
สิ
นเกิ
ดขึ้
น แต่เมื่
อบุ
คคลนั
นอายุ
มากขึ้
นประสิ
ทธิ
ภาพในการท�
ำงานดี
ขึ้
น ระดั
บรายได้ของเขาก็
จะสู
งขึ้
น นั่
นคื
อ บุ
คคลจะมี
ระดั
รายได้สู
งกว่าระดั
บการบริ
โภค เงิ
นส่วนที่
เหลือจากการบริ
โภคถู
กน�
ำไปออม และเมื่
อเข้าสู
วั
ยสู
งอายุ
รายได้จะค่อยๆ ลดลงไปจนอยู
่ในระดั
บต�่
ำเกื
อบเท่าตอนต้น ในขณะที่
การบริ
โภคยั
คงสู
งอยู
บุ
คคลจะกลั
บมามี
การออมเป็
นลบอี
กครั
งหนึ่
ง (ดั
งแผนภาพ 1)
1...,20,21,22,23,24,25,26,27,28,29 31,32,33,34,35,36,37,38,39,40,...170