พฤติกรรมการเป็
นหนี้
ของครั
วเรือนเกษตร พ.ศ.2554
16
แผนภาพ 1
ความสั
มพั
นธ์ของรายได้และการบริโภคในช่วงอายุ
ขั
ย
ที่
มา : William H. Branson. (1989). Macroeconomic Theory and Policy: p. 253
2.1.3 ทฤษฎีความต้
องการถือเงิน
ทฤษฎีความต้องการถื
อเงิ
นของจอร์น เมนาร์ด เคนส์ (John MaynardKeynes)
มี
รากฐานมาจากทฤษฎีความต้องการถื
อเงิ
นของมาร์แชลล์
ในเรื่
องปริ
มาณเงิ
นในรู
ปความ
ต้องการถื
อเงิ
น (cash balance quantity of money) ที่
มี
ความเห็
นว่าบุ
คคลจะถื
อเงิ
นจ�
ำนวนหนึ่
ง
เพื่
อความสะดวกในการใช้จ่าย และเพื่
อมิให้เกิ
ดปั
ญหาการขาดสภาพคล่อง แต่ตามแนวความ
คิ
ดของเคนส์นั
้
นเห็
นว่า เงิ
นมิ
ได้มี
บทบาทเพี
ยงตั
วกลางในการแลกเปลี่
ยนเท่านั
้
น แต่เงิ
นยั
งเป็
น
สิ
นทรั
พย์ (asset) ประเภทหนึ่
งซึ่
งได้แก่
หุ
้นกู
้
หรื
อพั
นธบั
ตร (bond) การที่
ประชาชนจะเลื
อกการ
ถื
อเงิ
นกั
บการถื
อพั
นธบั
ตรนั
้
นมี
ปั
จจั
ยที่
ส�
ำคั
ญในการก�
ำหนด นั่
นคื
อ ระดั
บรายได้ และอั
ตรา
ดอกเบี้
ย กล่าวคื
อ ถ้าอั
ตราดอกเบี้
ยสู
งความต้องการถื
อเงิ
นของประชาชนจะน้อย เพราะ
ประชาชนจะเลือกถื
อหลั
กทรั
พย์มากกว่า หรื
อในทางตรงกั
นข้ามถ้าอั
ตราดอกเบี้
ยต�่
ำลงความ
ต้องการถื
อเงิ
นของประชาชนจะมากขึ้
น
เพราะประชาชนจะเลื
อกที่
จะถื
อหลั
กทรั
พย์น้อยลง
นอกจากนี้
เคนส์ยั
งได้กล่าวถึ
งวั
ตถุ
ประสงค์ที่
บุ
คคลต้องการถื
อเงิ
นไว้ 3 ประการได้แก่ ความ
ต้องการถื
อเงิ
นเพื่
อใช้จ่ายในชีวิ
ตประจ�
ำวั
น (Transaction Motive) ความต้องการถื
อเงิ
นเพื่
อ
กรณี
ฉุ
กเฉิ
น (Precautionary Motive) และความต้องการถื
อเงิ
นเพื่
อเก็
งก�
ำไร (Speculative
Motive)
บาท
การบริ
โภค
รายได
การออมติ
ดลบ
การออมติ
ดลบ
0 20
60 T
มี
การออม
ช
วงอายุ