พฤติกรรมการเป็
นหนี้
ของครั
วเรือนเกษตร พ.ศ.2554
13
สำ
�หรั
บลั
กษณะที่
สำ
�คั
ญ และประเภทของหนี้สินสามารถแบ่งออกได้ดั
งนี้
(รั
ตนาภรณ์ เชาวลิตตระกู
ล : 2551)
1.1) ลั
กษณะที่
สำ
�คั
ญของหนี้สินมีดั
งนี้
1.1.1) เป็
นภาระผู
กพั
นในปั
จจุ
บั
นที่
เกิดจากเหตุ
การณ์ในอดีตของ
กิจการ เนื่
องจากการประกอบธุ
รกิจทางการค้า เช่น การซื้อ
สินค้าเป็
นเงินเชื่
อ การใช้บริการเป็
นเงินเชื่
อ การกู
้ยืมเงินจาก
สถาบั
นการเงิน
1.1.2) เป็
นหน้าที่
และความรั
บผิดชอบที่
เจ้าของกิจการต้องชดใช้ด้วย
เงินสด สินทรั
พย์อื่
น หรือบริการตามที่
ได้ตกลงกั
นไว้
1.1.3) สามารถกำ
�หนดมู
ลค่าของหนี้สินและวั
นที่
ครบกำ
�หนดชำ
�ระ
หนี้ได้
1.1.4) สามารถระบุ
ผู
้รั
บเงินได้
1.2) ประเภทของหนี้
สิน
หนี้สินมีระยะเวลาในการชำ
�ระหนี้ที่
แตกต่างกั
น ขึ้นอยู
่กั
บข้อตกลง ดั
งนั
้น
การจำ
�แนกประเภทหนี้สินจะพิจารณาจากความแตกต่างของระยะเวลาในการชำ
�ระหนี้
ซึ่
จำ
�แนกได้ 2 ประเภทดั
งนี้
1.2.1) หนี้สินหมุ
นเวียน (Current Liabilities) หมายถึง หนี้สินของกิจการ
ที่
มีระยะเวลาครบกำ
�หนด ในการชำ
�ระคืนภายใน 12 เดือน
นั
บจากวั
นที่
ทำ
�การกู
้ อาจชำ
�ระด้วยเงินสด หรือสินทรั
พย์
หมุ
นเวียนอื่
น นอกจากนี้หนี้สินหมุ
นเวียนยั
งมีลั
กษณะที่
แตกต่างกั
น สามารถจำ
�แนกได้ 3 ประเภทดั
งนี้
(1) หนี้สินหมุ
นเวียนที่
กำ
�หนดมู
ลค่าแน่นอน
(Determinable Current Liabilities)
(2) หนี้สินหมุ
นเวียนโดยประมาณ
(Estimated Current Liabilities)
(3) หนี้สินหมุ
นเวียนที่
อาจจะเกิดขึ้น
(Contingent Current Liabilities)
1.2.2) หนี้สินระยะยาว (Long-Term Liabilities) หมายถึง หนี้สินที่
มีระยะเวลาในการชำ
�ระหนี้คืนเกินกว่า 1 ปี หรือเกินกว่ารอบระยะเวลาดำ
�เนินงานตามปกติ
ของกิจการ (รอบระยะเวลาดำ
�เนินการปกติเท่ากั
บ 12 เดือน) เช่น หุ
้นกู
้ ตั
๋วเงินจ่ายระยะยาว
เจ้าหนี้จำ
�นอง เป็
นต้น
1...,18,19,20,21,22,23,24,25,26,27 29,30,31,32,33,34,35,36,37,38,...170