พฤติกรรมการเป็
นหนี้
ของครั
วเรือนเกษตร พ.ศ.2554
17
2.1.4 งานวิจั
ยที่
เกี่
ยวข้
อง
จากการศึกษางานวิจั
ยที่
เกี่
ยวข้อง พบว่ามี 3 ปั
จจั
ยใหญ่ ๆ ที่
มีความสั
มพั
นธ์
กั
บการก่อหนี้ ดั
งนี้
1) ปั
จจั
ยด้
านเศรษฐกิจ
นั
กเศรษฐศาสตร์ นั
กวิ
จั
ยและนั
กวิ
ชาการ
หลายท่
านได้
พยายามท�
ำการศึกษาพฤติกรรมการเป็
นหนี้ทั
้งใน
ระดั
บบุ
คคล และระดั
บครั
วเรื
อนในกลุ
่มต่างๆ โดยส่วนใหญ่จะ
อาศั
ยทฤษฎี
วั
ฏจั
กรชี
วิ
ต (lifecycle model) และทฤษฎี
รายได้
ถาวร (permanent-income model) เป็
นแนวทางในการศึ
กษา
เช่น จากการศึกษาของ Guy Debelle (2004) ในประเทศพั
ฒนาแล้วหลายประเทศ อาทิ
เช่น
ประเทศออสเตเรี
ย แคนาดา ฟินแลนด์ ฝรั่
งเศส และประเทศญี่
ปุ
่น เป็
นต้น เกี่
ยวกั
บการเพิ่
มขึ้
น
ของหนี้
ครั
วเรื
อนในช่วงสองทศวรรษที่
ผ่านมา พบว่า หนี้
สิ
นของครั
วเรื
อนมี
ความสั
มพั
นธ์กั
บ
รายได้ อั
ตราดอกเบี้
ย อั
ตราเงิ
นเฟ้อ และข้อจ�
ำกั
ดในการเข้าถึ
งสิ
นเชื่
อ โดยครั
วเรื
อนในประเทศ
พั
ฒนาแล้วส่วนใหญ่มี
หนี้
สิ
นเพิ่
มขึ้
นจากการที่
มี
รายได้ที่
สู
งขึ้
น อั
ตราดอกเบี้
ยอยู
่ในระดั
บต�่
ำ
อั
ตราเงิ
นเฟ้อที่
ลดลง และข้อจ�
ำกั
ดทางด้านการเข้าถึ
งสิ
นเชื่
อที่
ลดลง เช่น มี
การลดข้อจ�
ำกั
ด
ส�
ำหรั
บสถาบั
นการเงิ
น การเปิดเสรี
ทางการเงิ
นให้ต่างชาติ
เข้ามาแข่งขั
นได้
ส�
ำหรั
บการศึ
กษาภาวะหนี้
สิ
นของครั
วเรื
อนในประเทศไทย พบว่า ภาวะ
หนี้
สิ
นของครั
วเรื
อนมีแนวโน้มสู
งขึ้
นตามระดั
บรายได้ของครั
วเรื
อน ทั
้
งนี้
สื
บเนื่
องมาจากรั
ฐบาล
มี
การปล่
อยสิ
นเชื่
อให้
แก่
ภาคครั
วเรื
อนในอั
ตราดอกเบี้
ยเงิ
นกู
้
ต�่
ำประกอบกั
บนโยบายการ
สร้างโอกาสให้ทุ
กคนเข้าถึ
งแหล่งทุ
นมากขึ้
น
ซึ่
งจะเห็
นได้จากการศึ
กษาสภาวะหนี้
สิ
นของ
ครั
วเรื
อนไทย ปี 2537-2545 ของส�
ำนั
กงานคณะกรรมการพั
ฒนาการเศรษฐกิ
จและสั
งคม
แห่งชาติ
(2546) พบว่า สั
ดส่วนหนี้
สิ
นต่อรายได้ของครั
วเรื
อนเพิ่
มขึ้
นจาก 8.69 เท่าใน ปี
2537 เป็
น 10.71 เท่าในปี 2545 และมี
หนี้
สิ
นเฉลี่
ย 145,917 บาทต่อครั
วเรื
อน เมื่
อพิ
จารณา
เฉพาะครั
วเรื
อนยากจนมาก (ครั
วเรื
อนที่
ต�่
ำกว่าระดั
บร้อยละ 80 ของเส้นความยากจน) พบว่า
ครั
วเรื
อนยากจนมากมี
ภาระหนี้
เพิ่
มจาก 10.4 เท่าในปี 2537 เป็
น 13.3 เท่าในปี 2545 โดยมี
หนี้
เฉลี่
ยต่อครั
วเรื
อน 35,616 บาท ในขณะที่
การศึ
กษาของสมชั
ย จิ
ตสุ
ชน (2546) พบว่า ในปี
2545 ครั
วเรื
อนยากจนมาก (ครั
วเรื
อนที่
ต�่
ำกว่าระดั
บร้อยละ 50 ของเส้นความยากจน) มี
สั
ดส่วนหนี้
สิ
นต่อรายได้ถึ
ง 20 เท่าของรายได้ ซึ่
งประมาณร้อยละ 60 ของมู
ลค่าหนี้
สิ
นของ
ครั
วเรื
อนยากจนเป็
นหนี้
เพื่
อการใช้จ่ายในการบริ
โภค