พฤติกรรมการเป็
นหนี้
ของครั
วเรือนเกษตร พ.ศ.2554
14
2.1.2 ทฤษฎีการบริโภคที่
สั
มพั
นธ์
กั
บการเป็
นหนี้
สำ
�หรั
บแนวคิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ที่
เกี่
ยวข้องกั
บการเป็
นหนี้ที่
จะกล่าวถึง
ในที่
นี้ประกอบด้วย ทฤษฎีการบริโภคแบบรายได้สมบู
รณ์ ( Absolute Income Hypothesis )
ทฤษฎีการบริโภคตามสมมติฐานรายได้เปรียบเทียบ (Relative Income Hypothesis) ทฤษฎี
รายได้ถาวร (Permanent Income Theory of Consumption) ทฤษฎีการบริโภคแบบช่วงอายุ
ขั
หรือทฤษฎีวั
ฎจั
กรชีพ (Life Cycle Theory of Consumption) โดยมีรายละเอียดดั
งนี้
1) สมมติฐานการบริโภคแบบรายได้
สมบู
รณ์
(Absolute Income Hypothesis)
วั
นรั
กษ์
มิ่
งมณีนาคิน (2551) ได้กล่าวถึง ทฤษฎีการบริโภค
ตามสมมติฐานรายได้สมบู
รณ์ซึ่
งเป็
นแนวคิดของ John Maynard Keynes
ที่
ว่าด้วยการบริโภคและการลงทุ
น โดยการใช้จ่ายเพื่
อการบริโภคของ
บุ
คคลจะขึ้
นอยู
กั
บรายได้
สุ
ทธิ
ที่
สามารถใช้
จ่
ายได้
จริ
งหรื
อรายได้
พึ่
รายจ่าย (Disposable Income) กล่าวคือ บุ
คคลจะมีการบริโภคเพิ่
มขึ้น
เมื่
อมีรายได้สุ
ทธิที่
สามารถนำ
�ไปใช้จ่ายได้จริงเพิ่
มขึ้น
ในทางกลั
บกั
หากบุ
คคลมีรายได้สุ
ทธิที่
สามารถนำ
�ไปใช้จ่ายได้จริงลดลง บุ
คคลนั
้นจะ
มีระดั
บการใช้จ่ายเพื่
อบริโภคลดลง
2) ทฤษฎีการบริโภคตามสมมติฐานรายได้
เปรียบเทียบ
(Relative Income Hypothesis)
ทฤษฎีการบริโภคตามสมมติฐานรายได้เปรียบเทียบ
(Relative Income Hypothesis)
เป็
นแนวคิดของ Jame S. Duesenberry (1959) ที่
ว่าการบริโภคไม่ได้มีความสั
มพั
นธ์เฉพาะกั
รายได้สั
มบู
รณ์เท่านั
้น แต่ยั
งมีความสั
มพั
นธ์กั
บรายได้เปรียบเทียบ (Relative Income) นอกจาก
นี้สำ
�นั
กงานเศรษฐกิจการคลั
ง (2546) ได้กล่าวถึงพื้นฐานของข้อสมมติรายได้เปรียบเทียบใน
2 ลั
กษณะที่
มีอิทธิพลต่อการบริโภค คือ
2.1) พฤติกรรมการบริโภคของผู
้บริโภคแต่ละคนจะมีความสั
มพั
นธ์เกี่
ยวข้องกั
มากกว่าการบริโภคของตนเองเพียงคนเดียว
โดยผู
้บริโภคแต่ละคนจะทำ
�การเปรียบเทียบ
รายได้ของตนเองกั
บคนอื่
นๆในสั
งคม โดยผู
้บริโภคจะพยายามรั
กษามาตรฐานการครองชีพ
ของตนเองให้ใกล้เคียงกั
บเกณฑ์มาตรฐานของสั
งคม
และผู
้บริโภคจะพยายามลอกเลียน
พฤติกรรมการบริโภคของคนอื่
น ๆ ในสั
งคมด้วย
1...,19,20,21,22,23,24,25,26,27,28 30,31,32,33,34,35,36,37,38,39,...170